ดัชนีที่ช่วยการพยากรณ์โรคหลังการผ่าตัดในผู้สูงอายุ

13/05/2021
Medical Tribune
Masaki Kaibori และคณะจากภาควิชา Department of Surgery ของ Kansai Medical University ประเทศญี่ปุ่น ได้ตรวจสอบดัชนี comprehensive geriatric assessment (CGA) สำหรับกรณีการผ่าตัดตับ (hepatectomy) ในผู้ป่วยสูงอายุที่เป็นมะเร็งตับ และได้ระบุให้ G8 score เป็นดัชนีที่มีประสิทธิภาพในการพยากรณ์โรค แม้ว่าการพยากรณ์โรคหลังการผ่าตัดของผู้สูงอายุนั้นส่วนใหญ่จะอ้างอิงตามอายุของผู้ป่วย อย่างไรก็ตามเป็นเรื่องยากที่จะบอกว่าวิธีการดังกล่าวมีประโยชน์ เนื่องจากผู้ป่วยแต่ละรายมีความแตกต่างของการทำงานทางกายภาพ ดังนั้นหากมีการใช้ G8 score จะช่วยให้สามารถคัดกรองผู้ป่วยที่มีการพยากรณ์โรคที่ดีหลังผ่าตัดได้ และคาดว่าจะช่วยยืดระยะเวลาการอยู่รอด (survival time) โดยการคงระดับ (maintain) และปรับปรุงค่าดัชนีดังกล่าว รายละเอียดการศึกษานี้ได้รับการเผยแพร่ใน Cancers (2021; 13: 842)
Related News
1 ใน 3 ของประชากรสูงอายุเป็นโรค lewy body disease
ข้อสงสัยเกี่ยวกับความเป็นไปได้ในการพยากรณ์โรค lewy body disease (LBD) เช่น dementia with Lewy bodies (DLB) หรือ parkinson's disease (PD) ทำให้ Yuko Sa...
23/11/2020
MEDICAL Internal Medicineการวิจัยการใช้ AI ดูแลผู้สูงอายุ – ตัวอย่างการนำไปใช้ในระบบพยาบาล
“Penn Artificial Intelligence and Technology Collaboratory for Healthy Aging (PennAITech)” โครงการวิจัยใหม่ที่นำโดยคณะพยาบาลศาสตร์ University of Penns...
19/01/2022
MEDICAL Medtechการตรวจหาภาวะสมองเสื่อมระยะเริ่มต้นจากความสมดุลของกรดอะมิโนในเลือด
เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2020 ที่ผ่านมา บริษัท Ajinomoto แถลงถึงความเป็นไปได้ในการประเมินความเสี่ยงของการเกิดภาวะที่การทํางานของสมองเสื่อมถอยลง (cognitiv...
23/11/2020
MEDICAL Internal Medicineการค้นพบโปรตีนนอกเซลล์ PKCδ (extracellular protein) ที่จำเพาะต่อมะเร็งตับ
ในงานแถลงข่าว วันที่ 9 ธันวาคม 2020 Koji Yamada และคณะ จากภาควิชาชีวเคมี มหาวิทยาลัย Tokyo Jiekai Medical ญี่ปุ่น รายงานว่า “ถือเป็นครั้งแรกที่เราค้นพ...
25/12/2020
MEDICAL Oncology